Page 20 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 20
ข้อแนะนำ�เพิ่มเติม
�
ี
ึ
ื
เน่องจากมาตรฐานหรือแนวทางจากหลายหน่วยงานจัดทาข้นไม่พร้อมกัน นอกจากน้ยังมีการปรับปรุง
�
ี
�
ในช่วงระยะเวลาแตกต่างกัน จึงทาให้มีข้อกาหนดหลายประการท่ปรากฏในบางมาตรฐานหรือแนวทาง มิได้เป็น
ข้อก�าหนดของทุกมาตรฐานหรือแนวทาง จึงขอสรุปเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับการเลือกข้อก�าหนดต่าง ๆ ดังนี้
1. การหมุนเวียนอากาศภายในห้อง
บางมาตรฐานหรือแนวทางกาหนดไม่ให้หมุนเวียนอากาศภายในห้องผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศ แต่อาจ
�
ื
ี
ื
้
ปรากฏในบางมาตรฐานหรอแนวทางให้สามารถหมุนเวยนอากาศภายในห้องผ้ป่วยตดเชอทางอากาศได้ แต่ต้อง
ื
ิ
ู
หมุนเวียนผ่านแผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (HEPA Filter) เท่านั้น
2. พื้นที่รั่วของห้อง
ั
�
�
ื
ี
บางมาตรฐานกาหนดให้ห้องมีพ้นท่ร่วไหลของอากาศไม่เกิน 0.5 ตารางฟุต แต่บางมาตรฐานไม่ได้กาหนด
ตายตัว เพียงแต่ระบุให้พยายามอุดปิดรอยรั่วต่าง ๆ เพื่อให้สามารถควบคุมแรงดันภายในห้องให้น้อยกว่าภายนอกให ้
ได้เท่านั้น
3. จ�านวนผู้ป่วยภายในห้อง
ห้องแยกผู้ป่วยติดเชื้อทางอากาศควรออกแบบส�าหรับรองรับผู้ป่วยเพียงรายเดียว ไม่ควรรองรับผู้ป่วย
หลายรายภายในห้องเดียวกัน
4. Ante Room
ื
บางมาตรฐานมิได้กาหนดให้ห้องแยกผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศต้องม Ante Room แต่ประการใด
�
ี
แต่หากจ�าเป็นต้องมี ให้มีพื้นที่เพียงพอส�าหรับรองรับการท�างานและเครื่องมือที่จะต้องผ่านเข้า - ออกห้องได้ แต่บาง
ี
มาตรฐานกาหนดให้ห้องแยกผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศม Ante Room เพ่อเป็นพ้นที่ก่งกลางระหว่างภายนอกและ
ึ
ื
ื
�
ื
ภายในห้องที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศระหว่างที่มี
การเปิด - ปิดประตูห้อง
5. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศออกจากห้อง
�
ี
�
มาตรฐานสากลกาหนดให้ตาแหน่งของหน้ากากระบายอากาศออกจากห้องอยู่ท่ผนังด้านหลังหัวเตียง
ผู้ป่วยหรือฝ้าเพดานเหนือเตียงผู้ป่วย มิได้ก�าหนดให้ต้องอยู่สูงจากพื้น 10 เซนติเมตรแต่ประการใด
6. อากาศระบายทิ้งจากห้องน�้าส�าหรับผู้ป่วยติดเชื้อทางอากาศ
ี
ื
�
�
้
อากาศท่ระบายออกจากห้องนาสาหรับผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศ ต้องควบคุมคุณภาพเช่นเดียวกับอากาศ
ที่ระบายออกจากห้องผู้ป่วยติดเชื้อทางอากาศ ไม่สามารถระบายทิ้งแบบห้องน�้าทั่วไปได้
16 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล