Page 15 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 15
Environmental controls มจดประสงค์ทจะลดความเข้มข้นของ
ุ
ี
ี
่
เชื้อที่อยู่ในรูปของ droplet nuclei ในอากาศ โดยใช้หลักการทางวิศวกรรม และ
สถาปัตยกรรมการควบคุมนี้แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ
• Primary environmental controls คือการควบคุมท่แหล่งแพร่
ี
ึ
เช้อซ่งอาจจะเป็นผู้ป่วยหรือ laboratory specimens โดยใช้การระบายอากาศ
ื
ี
ี
เฉพาะท (local exhaust ventilation) จาก hoods ท่ใช้ในห้องปฏิบัติการหรือ
่
ื
ห้องเก็บเสมหะของผู้ป่วยผ่านการเจือจาง และขจัดเช้อโรค โดยระบบการระบาย
อากาศปกติของอาคาร (General ventilation)
• Secondary environmental controls คือการควบคุมมิให้
อากาศโดยรอบบริเวณแหล่งโรค เช่น บริเวณโดยรอบห้องแยกผู้ป่วยที่แพร่กระจาย
ื
เช้อทางอากาศปนเปื้อนเช้อโรค โดยการควบคุมทิศทางการไหลของอากาศการกรอง
ื
ด้วยแผงกรองอากาศ หรือการใช้ UVGI (Ultraviolet germicidal irradiation)
ื
ี
รายละเอียดเร่อง environmental controls น้จะกล่าวโดยละเอียดในหัวข้อ
การควบคุมคุณภาพอากาศ และมาตรฐานการออกแบบระบบปรับอากาศ และระบาย
อากาศในสถานพยาบาล
3. ก�รใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Respiratory - Protection Controls)
เมื่อมีการควบคุมโดยวิธีการทั้ง 2 อย่างข้างต้นแล้ว สิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาลก็จะปนเปื้อนด้วยเชื้อ
ี
โรคท่แพร่กระจายทางอากาศน้อยลงอย่างไรก็ตามบุคคลท่อยู่ในห้องเดียวกันหรือใกล้ชิดกับผู้ป่วยก็ยังอาจได้รับเช้อ
ี
ื
โรคจากผู้ป่วยได้ บุคคลดังกล่าวจึงต้องใช้เครื่องป้องกันร่างกายคือ Respirator หรือ mask ระดับ N 95 ขึ้นไป ทั้งนี้
สถานพยาบาลจะต้องจัดให้มีหน้ากากดังกล่าวในจานวนเพียงพอ มีข้อบ่งช้ในการใช้ มีการฝึกอบรมการใช้หน้ากาก
�
ี
และเครื่องป้องกันอื่นที่จ�าเป็น เช่น แว่นป้องกันตา นอกจากนี้ยังต้องให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้หน้ากาก
อนามัย การล้างมือ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อแก่ผู้ป่วยรวมทั้งญาติและผู้ดูแลด้วย
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 11