Page 11 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 11
ึ
ื
ี
ี
ื
ื
ี
2. การประเมินความเส่ยงของการแพร่เช้อและติดเช้อซ่งประกอบด้วย พ้นท่เส่ยง บุคคลท่เส่ยง และ
ี
ี
กิจกรรมที่เสี่ยง คือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝอยละออง
ต�ร�งที่ 1 กิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝอยละออง (Aerosol generating procedures)
Aerosol - generating procedures produce large & small particle aerosols
• Diagnostic sputum induction
• Nasopharyngeal aspiration/airway suction
• Aerosolized medication
• ET intubation and extubation
• Chest PT
• Bronchoscopy
• Positive pressure ventilation
• High - frequency ventilation
• CPR
• Post mortem excision of lung tissue
• Inoculating culture media and susceptibility test for airborne transmitted
microorganisms
3. ประเมินบุคลากรที่เสี่ยงที่จะรับเชื้อวัณโรคและอาจติดโรค โดยพิจารณาปัจจัยต่อไปนี้
• อายุ อายุมากจะเสี่ยงมากกว่า
• มีโรคประจ�าตัว ที่เสี่ยงต่อวัณโรค ได้แก่ ติดเชื้อเอชไอวี เบาหวาน เป็นต้น
• พื้นที่ที่ปฏิบัติงาน ได้แก่ ห้องฉุกเฉิน แผนกผู้ป่วยนอกที่มีความแออัด
• ลักษณะของงาน ที่มีความใกล้ชิดกับผู้ป่วย และท�ากิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝอยละออง
4. ให้ความส�าคัญและปฏิบัติตามหลักการของ Respiratory Hygiene and cough etiquette ซึ่งมี
สาระส�าคัญ คือ
- เร่องการคัดกรองและแยกผู้ป่วยท่สงสัยออกจากบุคคลอ่นต้งแต่บริเวณแรกเข้ามา
ื
ี
ื
ั
ในสถานพยาบาล รวมทั้งมีระบบคัดกรองในทุกจุดบริการผู้ป่วย ได้แก่ แผนกฉุกเฉิน แผนกผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยใน
หอผู้ป่วยวิกฤต ห้องผ่าตัด ห้องส่องกล้อง เป็นต้น เมื่อคัดกรองแล้วหากมีข้อบ่งชี้ว่าผู้ป่วยเข้าข่ายการเป็นวัณโรคก็จะ
ต้องแยกผู้ป่วยออกจากผู้อื่นทันที ตรวจเพิ่มเติมและวินิจฉัยโดยเร็ว ส�าหรับหอผู้ป่วยในโดยเฉพาะหอผู้ป่วยในซึ่งเป็น
ี
ึ
ี
ื
ห้องรวมและติดเคร่องปรับอากาศหรือมีการระบายอากาศท่ไม่เพียงพอจะมีความเส่ยงมากข้นในการแพร่กระจาย
ั
วัณโรค ดังน้นหากผู้ป่วยรายใดท่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยดังกล่าวมีอาการท่บ่งช้ว่าอาจเป็นวัณโรคต้องรีบแยก
ี
ี
ี
ผู้ป่วยนั้นออกจากผู้อื่นโดยเร็ว เพื่อการตรวจเพิ่มเติมและวินิจฉัยวัณโรคต่อไป
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 7