Page 7 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 7
ม�ตรฐ�นก�รออกแบบก�รป้องกันก�รติดเชื้อ
ั
�
ื
การแพร่กระจายเช้อทางอากาศในสถานพยาบาลเป็นปัญหาสาคญทาง
การแพทย์และสาธารณสุขทั่วโลก ส�าหรับประเทศไทย เชื้อวัณโรคซึ่งเป็นเชื้อที่แพร่
ึ
ิ
�
ื
�
กระจายทางอากาศกาลังเป็นปัญหาสาคัญ เน่องจากอุบัติการณ์ของวัณโรคเพ่มข้น
ี
ื
และพบเช้อวัณโรคท่ด้อยาหลายขนานด้วย นอกจากน้โรคอุบัติใหม่ระบบทางเดิน
ื
ี
หายใจ ได้แก่ โรค SARS, Avian Influenza, A H5N1 อาจแพร่ทางอากาศหรือ
ทางฝอยละอองขนาดเล็ก (aerosol) ได้ในบางสภาวการณ์ การป้องกันการแพร่กระจาย
เชื้อทางอากาศในสถานพยาบาลจึงเป็นสิ่งที่ต้องด�าเนินการ
ในปี ค.ศ. 1930 William F.Wells ซ่งเป็นวิศวกรด้านสุขาภิบาล จาก
ึ
มหาวิทยาลัย Harvard ได้ทาการศึกษาร่วมกับนักศึกษาแพทย์ Richard Reiley และ
�
รายงานว่าแก่นของฝอยละออง (droplet nuclei) ซึ่งมีจุลชีพอยู่เป็นสิ่งที่ท�าให้เกิด
การแพร่กระจายเช้อทางอากาศ เน่องจากอานุภาค ซ่งมีขนาด ≤ 5 ไมครอน สามารถ
ึ
ื
ื
แขวนลอยอยู่ในอากาศได้นาน โดยไม่ตกลงสู่พื้น และจะล่องลอยอยู่ในอากาศไปได้
ไกลมาก จากจุดก�าเนิด ซึ่งสอดคล้องกับสมการที่ใช้ค�านวณความเร็วที่อนุภาคขนาด
1 - 100 ไมครอน จะตกลงสู่พื้นซึ่งเสนอโดย Lewis Strokes จากสมการดังกล่าว
พบว่า อนุภาคขนาด 1 - 5 ไมครอนที่อยู่ในกระแสอากาศนิ่ง จะมีอัตราการตกสู่พื้น
้
ั
1 หลาต่อช่วโมง ท้งน หากมีกระแสลมแรงการแขวนลอยในอากาศของอนุภาคดังกล่าว
ี
ั
ก็จะนานขึ้น เมื่อถูกหายใจเข้าไปอนุภาคขนาด 1 - 5 ไมครอน จะสามารถผ่าน cilia
และ mucosal defenses ในบริเวณทางเดินหายใจส่วนบน ลงไปสะสมในถุงลมปอด
ั
ื
(alveoli) หากเช้อโรคน้นยังคงมีชีวิตอยู่บน droplet nuclei ได้ก็จะก่อให้เกิดโรค
ื
การศึกษาเร่องการแพร่กระจายเช้อโรคทางอากาศพบอย่างกว้างขวางหลังจากอุบัติการณ์
ื
ึ
ิ
ของวัณโรคเพ่มสูงข้น รวมท้งการอุบัติของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
ั
ึ
ื
จากเช้อ SARS Corona virus ซ่งมีหลักฐานว่าเป็นโรคท่แพร่กระจายทางอากาศ
ี
ในบางสภาวการณ์ ทาให้ปัจจุบันมีการแบ่งเช้อโรคท่แพร่กระจายทางอากาศ
�
ื
ี
ออกแบบ 3 กลุ่ม คือ
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 3