Page 13 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 13
ี
ื
�
อันประกอบด้วย ความรู้ความชานาญของบุคลากร การใช้เคร่องป้องกันร่างกาย ท่เหมาะสม คือ หน้ากากกรองอนุภาค
ระดับ N 95 ขึ้นไป การจ�ากัดบุคลากรเท่าที่จ�าเป็น แนวทางปฏิบัติกิจกรรมเสี่ยง คือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝอยละออง
ี
�
�
ี
�
�
การลดระยะเวลาสัมผัสผู้ป่วย แนวทางปฏิบัติและคาแนะนาสาหรับญาติและผู้เข้าเย่ยม ควรจากัดการเย่ยมผู้ป่วยเท่าท ี ่
จ�าเป็นไม่อนุญาตให้ผู้สูงอายุ (อายุ > 60 ปี) และเด็ก (≤ 5 ปี) เข้าเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรค จ�ากัดระยะเวลาเข้าเยี่ยม และ
ผู้เยี่ยมต้องสวมหน้ากากอนามัย
9. การบริหารงานภายในห้องที่เฉพาะ
ื
ี
ื
ี
9.1 ห้องฉุกเฉิน เป็นพ้นท่เส่ยงต่อการติดเช้อและแพร่กระจายเช้อวัณโรคและโรคติดเช้อระบบ
ื
ื
ทางเดินหายใจอื่น ๆ ดังนั้น การคัดกรอง แยกผู้ป่วย และลดระยะเวลาสัมผัสผู้ป่วยเป็นปัจจัยที่มีความส�าคัญอย่างยิ่ง
ท่จะลดความเส่ยงดังกล่าว ห้องฉุกเฉินควรมีห้องแยกสาหรับผู้ป่วยท่แพร่กระจายเช้อทางอากาศ เพ่อใช้สาหรับ
�
ื
ี
ี
ี
ื
�
การรอคอยก่อนน�าผู้ป่วยไปหอผู้ป่วยในและเพื่อใช้ท�ากิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝอยละออง ห้องดังกล่าวนอกจากจะมีการ
ี
จัดการอากาศ การระบายอากาศท่เหมาะสมแล้ว จะต้องมีอุปกรณ์ท่จาเป็นได้แก่ การให้ออกซิเจน การดูดเสมหะ
ี
�
ิ
ั
ั
้
ื
ี
การใส่ท่อช่วยหายใจ มพนทเพยงพอสาหรบกจกรรมดังกล่าว และสามารถสงเกตอาการผ้ป่วยจากภายนอกห้องได้
ู
ี
�
ี
่
(เช่น มีบานกระจกใสหรือโทรทัศน์วงจรปิด)
ภาพแสดงห้องแยกในห้องฉุกเฉิน
ี
ี
ื
ื
ี
ื
9.2 ห้องชันสูตรมีการจัดพ้นท่และอุปกรณ์ท่ลดความเส่ยงในการติดเช้อและแพร่กระจายเช้อ
�
ื
รวมท้งมีแนวปฏิบัติเพ่อป้องกันการติดเช้อและแพร่กระจายเช้อ ได้แก่ การทาความสะอาดอุปกรณ์ ส่งแวดล้อม
ิ
ั
ื
ื
การก�าจัดขยะติดเชื้อ
ี
9.3 สถานท่เก็บเสมหะ มีได้ 2 ลักษณะ คือ ตู้เก็บเสมหะท่เป็น negative pressure และม ี
ี
ี
แผงกรองอากาศถึงระดับ HEPA fitter หรือ สถานท่เก็บเสมหะท่มีการระบายอากาศตามธรรมชาติท่ด มีแสงแดด
ี
ี
ี
�
ี
ั
�
ี
ส่องถึง สถานท่เก็บเสมหะท้งสองแบบจะต้องมีองค์ประกอบร่วมท่สาคัญ คือท่ล้างมือ ถังขยะติดเช้อ คาแนะนา
ื
�
ี
ในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วย และสถานที่ควรอยู่ห่างจากบุคคลอื่นด้วย ห้ามเก็บเสมหะในห้องสุขา
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 9