Page 42 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 42
ี
ื
ู
ห้องฉุกเฉินจะเป็นพ้นท่รองรับผ้ป่วยหลากหลายประเภทเป็นอย่างมาก สถานพยาบาลแต่ละแห่งจึงควร
ี
ื
ื
ี
ื
พิจารณาคัดกรองผู้ป่วยผ่านระบบคัดกรองอย่างเข้มงวด เพ่อลดความเส่ยงท่จะเกิดการติดเช้อทางอากาศภายในพ้นท ่ ี
ี
ี
ั
ห้องฉุกเฉิน เน่องจากห้องฉุกเฉินโดยท่วไปจะไม่ได้ออกแบบติดต้งแผงกรองอากาศท่มีประสิทธิภาพสูงพอท่จะกรอง
ั
ื
เชื้อแบคทีเรียได้
ส�าหรับพื้นที่ห้องฉุกเฉิน จะต้องควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เบื้องต้นดังนี้
1. แรงดันอากาศบริเวณผู้ป่วยรอตรวจ < - 2.5 Pa.
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 12 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH
o
4. อุณหภูมิ 21 - 24 C
5. ความชื้นสัมพัทธ์ < 65% RH
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสู่ห้อง MERV 7 (Pre Filter)
6.2 อากาศระบายทิ้งออกจากห้อง ไม่ก�าหนด
7. ต�าแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง ไม่ก�าหนด
8. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง ไม่ก�าหนด
ี
ิ
ี
ห้องฉุกเฉินจะเป็นพ้นท่ท่อาจอาจมีกล่นไม่พึงประสงค์จากผู้ป่วยท่ไม่ รู้สึกตัวหรือช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ี
ื
ี
ื
ี
่
จึงควรติดต้งระบบระบายอากาศท่วไปของพ้นท ห้องฉุกเฉินโดยระบายออกจากพ้นท่ให้มีประสิทธิภาพอย่างเพียงพอ
ั
ั
ื
นอกจากนี้ยังอาจมีผู้ป่วยติดเชื้อทางอากาศเข้ามาใช้บริการในพื้นที่ หากเป็นไปได้ ควรเตรียมพื้นที่ภายในห้องฉุกเฉิน
ั
�
ี
ี
ื
ื
สาหรับรองรับผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศโดยเฉพาะ โดยสามารถเลือกพ้นท่และติดต้งระบบระบายอากาศท่ใช้งบประมาณ
่
ึ
ี
่
ื
ี
ื
ื
่
ุ
ไม่สูงมากนัก เนองจากสามารถใช้มวลอากาศเย็นจากภายในพ้นท่ของห้องฉกเฉินซงเป็นพ้นทปรับอากาศอยู่แล้ว
มาผ่านพื้นที่รองรับผู้ป่วยติดเชื้อทางอากาศได้ ท�าให้สามารถประหยัดพลังงานในการใช้งานระบบระบายอากาศหรือ
ระบบ Negative Pressure ได้
38 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล