Page 46 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 46
ส�าหรับพื้นที่หออภิบาลผู้ป่วยหนัก จะต้องควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เบื้องต้นดังนี้
1. แรงดันอากาศ > + 2.5 Pa.
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 6 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH
4. อุณหภูมิ 21 - 24 C
o
5. ความชื้นสัมพัทธ์ 30 - 60% RH
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสู่ห้อง MERV 14
6.2 อากาศระบายทิ้งออกจากห้อง ไม่ก�าหนด
7. ต�าแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง ไม่ก�าหนด
8. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง ไม่ก�าหนด
้
่
เนื่องจากมาตรฐานงานระบบปรับอากาศและระบายอากาศส�าหรับพื้นที่หออภิบาลผูปวยหนัก จะค�านึงถึง
ื
ี
�
ิ
�
ื
การป้องกันการติดเช้อของผู้ป่วยท่มีภูมิต้านทานตากว่าปกต จึงไม่ควรนาผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศเข้าไปดูแลภายใน
่
ั
ื
ี
ื
ี
ื
พ้นท่เดียวกันกับผู้ป่วยท่วไป ควรเตรียมพ้นท่ห้องแยกโรคไว้รองรับเฉพาะผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศไว้ภายในหออภิบาล
ผู้ป่วยอย่างน้อย 1 ห้อง โดยข้อก�าหนดในการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ จะเป็นไปตามมาตรฐานของห้องแยกโรคผู้ป่วย
ติดเชื้อทางอากาศ
ิ
ู
ู
ั
ึ
หออภบาลผ้ป่วยหนักอาจเป็นหอผ้ป่วยรวม หรือแยกผ้ป่วยแต่ละรายแยกห้องข้นอยู่กบงบประมาณและ
ู
สถานท่ก่อสร้าง แต่หากระบบปรับอากาศติดต้งเป็นแบบระบบปรับอากาศรวม การก่อสร้างแบบหอผู้ป่วยรวมหรือ
ี
ั
ห้องผู้ป่วยแยกห้องก็จะได้คุณภาพอากาศภายในพ้นท่แบบเดียวกัน เน่องจากอากาศจากท้งหอผู้ป่วยจะเข้าไปรวมกัน
ั
ื
ื
ี
ื
ี
ื
ท่เคร่องปรับอากาศ ก่อนจ่ายเข้าสู่หอผู้ป่วยต่อไป การแยกห้องผู้ป่วยจึงเป็นการแยกผู้ป่วยเพ่อป้องกันการติดเช้อแบบ
ื
Contact หรือ Droplet เป็นหลัก ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อทางอากาศ (Airborne) ได้
้
่
้
้
้
หากตองการกอสรางหออภิบาลผูปวยหนักใหเปนหองแยกผูปวยทั้งหมด และตองการใหระบบปรับอากาศ
่
้
้
้
็
่
้
ึ
ของห้องผู้ป่วยแต่ละห้องแยกเป็นอิสระต่อกัน จะทาให้การก่อสร้างมีค่าใช้จ่ายสูงข้นมาก เพราะระบบปรับอากาศ
�
ั
�
สาหรับหออภิบาลผู้ป่วยหนักตามมาตรฐานจะต้องติดต้งแผงกรองอากาศช้นกลางประสิทธิภาพ MERV 14 (Medium
ั
Filter) ทาให้ไม่สามารถติดต้งเคร่องปรับอากาศแบบแยกส่วนธรรมดาสาหรับห้องผู้ป่วยแต่ละห้องได้ ก่อนการก่อสร้าง
ื
�
ั
�
หออภิบาลผู้ป่วยหนักจึงควรค�านึงถึงประเภทผู้ป่วยที่จะต้องให้บริการเป็นอย่างดี
42 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล