Page 84 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 84
ส�าหรับพื้นที่หออภิบาลผู้ป่วยหนัก จะต้องควบคุมตัวแปรต่างๆ เบื้องต้นดังนี้
1. แรงดันอากาศบริเวณผู้ป่วยนั่งรอ > + 2.5 Pa.
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 6 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH
4. อุณหภูมิ 21 - 24 C
o
5. ความชื้นสัมพัทธ์ < 60% RH
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสู่ห้อง 90% Efficiency
6.2 อากาศระบายทิ้งออกจากห้อง ไม่ก�าหนด
7. ต�าแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง ฝ้าเพดาน
8. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง ไม่ก�าหนด
อุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ในระบบปรับอ�ก�ศ
หลอดอัลตราไวโอเลต
การใช้งานหลอดอัตราไวโอเลตจะแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ในปัจจุบันคือ
1. Upper Room UVGI
2. จะต้องค�านวณอย่างละเอียด และก�าหนดต�าแหน่งติดตั้งห
มาตรฐานและแนวทางแนะน�าว่าสามารถติดตั้งหลอดอัลตราไวโอเลตเป็นส่วนประกอบเพิ่มเติมจากการใช้
แผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูงได้ แต่ไม่แนะนาให้ใช้ทดแทนการใช้แผงกรองอากาศ ประสิทธิภาพสูง เน่องจากการ
�
ื
ใช้หลอดอัลตราไวโอเลตมีข้อจ�ากัดหลายประการที่ต้องระวังในการเลือกใช้
สรุป
�
คุณภาพอากาศภายในอาคารพยาบาลเป็นองค์ประกอบสาคัญประการหน่งของการป้องกันการแพร่กระจาย
ึ
ื
ี
เช้อทางอากาศ รูปแบบการปรับปรุงคุณภาพอากาศต้องใช้วิศวกร สถาปนิกผู้เช่ยวชาญมาออกแบบจัดสร้าง อาจม ี
�
�
ี
ข้อจากัดในการนาไปปฏิบัติในสถานพยาบาลบางแห่ง อย่างไรก็ตาม มาตรฐานต่าง ๆ ท่อ้างอิงและข้อคิดเห็นใน
บทความนี้ คงจะให้แนวคิดที่มีประโยชน์ในการน�าไปประยุกต์ใช้กับสถานพยาบาลระดับต่าง ๆ ต่อไป
ACH : Air Change per Hour
HEPA Filter : High Efficiency Particulate Air Filter
ULPA Filter : Ultra Low Penetrating Air Filter
Pa : Pascal
ASHRAE : American Society of Heating, Refrigerating and Air - Conditioning Engineers, Inc.
CDC : Centers for Disease Control and Prevention
80 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล