Page 89 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 89
ก�รป้องกันก�รแพร่กระจ�ยเชื้อ (Isolation Precautions)
ื
ึ
ี
ี
ในระยะเวลาไม่ก่ปีท่ผ่านมา เราพบการระบาดของเช้อโรคติดต่อใหม่ๆ เกิดข้นหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นโรคซาร์ หรือ
โรคไข้หวัดนก โรค Middle East respiratory syndrome coronavirus (MERS - CoV) อีกทั้งยังพบโรคใหม่ๆ ที่เราไม่เคย
รูจักมาก่อนในอดีตอีกหลายชนิดค่อยๆ เผยโฉมออกมา ขณะเดียวกันโรคติดต่อบางชนิด เช่น วัณโรค โรคลีเจียนแนร์ และ
ี
ั
ี
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ท่มีแนวโน้มการแพร่กระจายท่ลดลงในอดีต ก็กลับมาเกิดการระบาดใหม่อีกคร้งจนเป็นท่น่าจับตามอง
ี
ี
ปัจจัยประการหน่งท่อาจกล่าวได้ว่าเป็นปัจจัยท่เอ้อและส่งเสริมให้เกิดการขยายตัว และแพร่กระจายของเช้อโรคต่างๆ เหล่าน ้ ี
ื
ื
ึ
ี
ื
่
ั
ี
ั
้
�
อย่างททราบเบองต้นว่า หลกการสาคญในการป้องกนและควบคมการแพร่กระจายเช้อโรค ในสถานพยาบาล
ื
ั
ุ
มี 3 ประการ คือ
ี
�
1. การบริหารจัดการภายในสถานพยาบาล (Administrative Controls) ซ่งเป็นมาตรการพ้นฐานท่มีความสาคัญ
ึ
ื
มากที่สุดในการลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายเชื้อในสถานพยาบาล
2. การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environmental Controls) มีความส�าคัญเป็นล�าดับที่ 2 ในการป้องกันการติดเชื้อ
ภายในสถานพยาบาล
3. การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Respiratory - Protection Controls) โดยพบว่าเมื่อมีการควบคุมโดยวิธี
การทั้ง 2 อย่างข้างต้นแล้ว สิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาลก็จะปนเปื้อนด้วยเชื้อโรคที่แพร่กระจายทางอากาศน้อยลง
้
่
่
่
ตามหลักการพบวาการแพรกระจายของเชื้อจุลชีพในสถานพยาบาลสามารถแพรกระจายได 3 ทาง คือ การสัมผัส
ึ
(contact) ทางอากาศ (airborne) และทางฝอยละออง (droplet) โดยท่เช้อจุลชีพชนิดหน่งอาจแพร่กระจายได้มากกว่า
ื
ี
1 ช่องทาง (Hierholzer, 1996) ดังนั้นในการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในสถานพยาบาล ผู้ปฏิบัติงานจึงจ�าเป็นต้องเข้าใจ
กลไกการแพร่กระจายของเชื้อจุลชีพแต่ละชนิดด้วย
ื
1. การแพร่กระจายเช้อโดยการสัมผัส (contact transmission) เป็นวิถีทางการแพร่กระจายเช้อท่พบได้บ่อย
ี
ื
ที่สุด ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งทางตรง (direct contact) การสัมผัสเชื้อจากเสมหะ น�้ามูก น�้าลายของผู้ป่วย หรือทางอ้อม (indirect
ื
contact) เช่น การแพร่กระจายเช้อจากการใช้อุปกรณ์ร่วมกันหรือติดเช้อจากของท่เด็กเล่นร่วมกัน หรือเกิดจากการแพร่
ื
ี
กระจายเชื้อผ่านมือของบุคลากรทางสุขภาพที่ไม่ได้ท�าความสะอาดมือหลังมือปนเปื้อนเชื้อจุลชีพ (Pittet et al., 2006)
2. การแพร่กระจายเชื้อทางฝอยละออง (Droplet transmission) เกิดจากการผู้ที่มีเชื้อโรคในทางเดินหายใจ ไอ
จามหรอพด หรอระหว่างการทากจกรรม เช่น ดดเสมหะ การใส่ท่อช่วยหายใจ เป็นต้น ทาให้เกดการฟ้งกระจายของฝอย
ู
�
ื
ุ
ื
ู
�
ิ
ิ
ละอองเชื้อจุลชีพที่มีขนาดมากกว่า 5 ไมครอน ส่วนใหญ่มักจะกระจายไปไกลจากแหล่งก�าเนิดไม่เกิน 3 ฟุต แต่บางกรณีอาจ
ี
ฟุ้งกระจายไปได้ไกลถึง 6 ฟุต ข้นอยู่กับวิธีและความแรงของการ ฟุ้งกระจาย เช้อจุลชีพท่แพร่กระจายทางฝอยละอองอากาศ
ื
ึ
ี
เช่น โรคติดเช้อระบบทางเดินหายใจท่เกิดจากเช้ออะดิโนไวรัส (Adenovirus, respiratory) โรคหลอดลมฝอยอักเสบ
ื
ื
(Bronchiolitis) โรคหลอดลมอักเสบ (Bronchitis) โรคครูป (croup) หรือโรคกล่องเสียงและหลอดลมใหญ่อักเสบเฉียบพลัน
โรคฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ (Epiglottitis) โรคปอดอักเสบจากเช้อมัยโคพลาสมา (Mycoplasma pneumonia) โรคปอดบวม
ื
(Pneumonia) Hemophilus influenza, กาฬโรคปอด (Plague - pneumonic) หัดเยอรมัน (Rubella) คางทูม (Mumps)
ื
ื
ไอกรน (Pertussis) ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) โรคเย่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) โรคเย่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส
(Viral meningitis) ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal infection) เป็นต้น
ี
3. การแพร่กระจายเช้อทางอากาศ (airborne transmission) เกิดจากแหล่งโรคพ่นฝอยละอองอากาศท่ม ี
ื
เช้อจุลชีพปนเปื้อนออกมา โดยท่ขนาดของฝอยละอองอากาศจะต้องมีขนาด ≤ 5 ไมครอน จึงสามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้
ี
ื
ื
ี
ั
�
และถ้ามีลมจะช่วยพยุงอากาศท่มีเช้อโรคเกาะติดทาให้ลอยอยู่ในอากาศได้นานเป็นช่วโมงหรือเป็นวัน และไปได้ไกลจาก
แหล่งก�าเนิดมากกว่า 3 ฟุต เชื้อจุลชีพที่แพร่กระจายทางอากาศ เช่น วัณโรคปอด (Pulmonary TB) วัณโรคนอกปอดชนิด
ั
มีสารคัดหล่งออกจากร่างกาย หัด (Measles) สุกใส (Chickenpox) งูสวัดและเริมแบบแพร่กระจาย (Disseminated herpes
zoster and Disseminated herpes simplex) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (Severe Acute Respiratory
Syndrome: SARS) โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส (Middle East Respiratory Syndrome: MERS)
ึ
ี
และโรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) ซ่งโรค 5 ชนิดหลังน้ต้องใช้แนวทางการปฏิบัติตามหลัก Contact precautions ร่วมด้วย
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 85