Page 94 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 94
ิ
ณ จุดให้บริการและมีระบบการประเมินการแยกมูลฝอย หากมีการปนเปื้อนส่งคัดหล่ง เช่น เลือด หรืออุจจาระของผู้ป่วย
ั
�
�
�
ให้ราดบริเวณนั้นด้วยน้ายาทาลายเชื้อ เช่น 0.5% Sodium hypochlorite ทิ้งไว้นาน 10 นาทีแล้วเช็ดทาความสะอาดด้วย
ผงซักฟอกและน้าตามปกติต่อไป
�
ื
ี
1.7 เคร่องผ้าและการซักล้าง (textiles and laundry) ให้ระมัดระวังในการจับต้องและ เคล่อนย้ายผ้าท่เปื้อน
ื
ื
�
ี
ื
ี
้
ั
เลือด สารนาหรือสารคัดหล่งจากร่างกายผู้ป่วย โดยหยิบจับให้มีการกระเพ่อมน้อยท่สุดเพ่อหลีกเล่ยงการฟุ้งกระจายปนเปื้อน
อากาศและพื้นผิวสิ่งแวดล้อมจากผ้าน้อยที่สุด โดยผ้าเปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วยให้ซักด้วยน�้าธรรมดาก่อน 2 ครั้ง
เพ่อขจัดคราบสกปรกต่าง ๆ ออกระดับหน่ง หลังจากน้น จึงเข้าสู่กระบวนการซักด้วยผงซักฟอกตามสัดส่วนท่กาหนด
ั
�
ึ
ื
ี
ั
ิ
ี
ั
ิ
ื
ั
ต้งอุณหภูม 60 - 70 องศาเซลเซียส จะสามารถฆ่าเช้อได้ท้งแบคทีเรียและไวรัส ส่วนผ้าท่ใช้แล้วแต่ไม่เปื้อนส่งคัดหล่งให้ซักด้วย
น�้าธรรมดาก่อน 1 ครั้ง และซักโดยใช้ผงซักฟอก ตามสัดส่วนที่ก�าหนด ตั้งอุณหภูมิ 60 - 70 องศาเซลเซียส ปั่นผ้าใช้เวลา
1 ชั่วโมง อบผ้าในเครื่องอบผ้านาน 30 นาที ค่อยน�าผ้าออกจากเครื่องอบผ้าไปส่งให้งานบริการพับผ้า
1.8 การปฏิบัติในการฉีดยาอย่างปลอดภัย (safe injection practices) การเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงานก่อ
ให้เกิดผลกระทบทั้งต่อผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ แม้ว่าอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจะไม่ท�าให้เกิดการติดเชื้อทั้งหมด เช่น ถูกแก้วบาด
เข็มปราศจากเช้อท่มตา แต่ก็เป็นสาเหตุทาให้เกิดบาดแผล ซ่งจะเพ่มความเส่ยงต่อการติดเช้อหากเกิดการสัมผัสเลือดหรือ
ิ
ื
ึ
ื
ิ
�
�
ี
ื
ู
ี
ี
ิ
สารคดหล่งจากร่างกายผ้ตดเช้อในขณะท่แผลยังไม่หายด นอกจากน้นหากเป็นอุบติเหตท่เกิดจากอปกรณ์ท่ทาให้มีโอกาสเกด
ุ
ี
ิ
�
ี
ั
ั
ั
ุ
ั
การติดเชื้อได้ก็ย่อมส่งผลกระทบทางด้านจิตใจต่อผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับอุบัติเหตุเป็นอย่างมาก
2. Transmission - based precautions เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเช้อ ในผู้ป่วยท่ทราบ
ื
ี
ื
ื
ื
ั
ี
ช่องทางการแพร่กระจายเชอ หรอมีความเส่ยงต่อการป่วยด้วยโรคติดเช้ออุบัติใหม่ต่าง ๆ เป็นการป้องกนแพร่กระจายเช้อ
ื
้
ตามกลวิธีการติดต่อ เพิ่มเติมจากการดูแลผู้ป่วยด้วย Standard precautions ดังนี้
�
ี
2.1 การป้องกันการแพร่เช้อทางการสัมผัส (Contact precautions) ใช้เป็นหลักปฏิบัติสาหรับผู้ป่วยท่รู้หรือ
ื
ื
ี
ื
ี
สงสัยว่ามีการติดเช้อหรือมีหลักฐานของกลุ่มอาการท่แสดงถึงความเส่ยงต่อการแพร่กระจายเช้อทางการสัมผัสท้งทางตรงและ
ั
ทางอ้อม จากผู้ป่วยสู่ผู้ป่วย จากบุคลากรสู่ผู้ป่วย จากผู้ป่วยสู่อุปกรณ์หรือของใช้ที่ปนเปื้อน โดยมีหลักปฏิบัติดังนี้
ี
2.1.1 การจัดเตียง/ห้องให้ผู้ป่วย ควรให้อยู่ในห้องแยกเดี่ยว แต่ถ้าไม่มีห้องแยกควรจัดให้ผู้ป่วยท่มีสภาวะ
แพร่กระจายเชื้อได้ง่าย เช่น ควบคุมการถ่ายอุจจาระไม่ได้ ให้อยู่ในห้องแยกเป็นอันดับแรก จัดให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือพบเชื้อ
�
โรคชนิดเดียวกันอยู่ห้องเดียวกัน แต่ถ้าไม่มีห้องแยกและจาต้องให้อยู่รวมกับผู้ป่วยอ่นท่ไม่มีการติดเช้อ ให้หลีกเล่ยงการจัด
ี
ื
ื
ี
่
�
ี
ให้อยู่ห้องเดียวกับผู้ป่วยท่อาจติดเช้อจากผู้ป่วยรายน้ได้ง่าย เช่น ผู้ป่วยท่มีภาวะภูมิคุ้มกันตา ผู้ป่วยท่มีแผลเปิด เป็นต้น
ี
ื
ี
ี
จัดเตียงผู้ป่วยให้ห่างจากผู้ป่วยอื่น ≥ 3 ฟุต และปิดม่านระหว่างเตียงเพื่อลดโอกาสที่จะเกิดการสัมผัสโดยตรง
2.1.2 การทาความสะอาดมือ ต้องทาความสะอาดมืออย่างถูกต้องระหว่างการสัมผัสผู้ป่วยในแต่ละราย
�
�
ั
ื
ในห้องเดียวกัน โดยล้างมือแบบ hygienic hand washing ทุกคร้ง หลังถอดถุงมือและเคร่องป้องกันร่างกายแต่ละชนิด
ส่วนผู้เข้าเยี่ยมล้างมือแบบ hygienic hand washing ทุกครั้งหลังการเยี่ยมผู้ป่วย แนะน�าให้หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่วยและ
เครื่องใช้ของผู้ป่วย
2.1.3 การสวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย บุคลากรทางการแพทย์ต้อง ล้างมือ ก่อนสวมถุงมือเม่อต้องสัมผัส
ื
ี
ื
ื
�
กับตัวหรือเลือดและสารนาจากตัวผู้ป่วย พ้นผิวและส่งของท่อยู่ใกล้ผู้ป่วย และสวมเส้อคลุมเม่อจับต้อง/สัมผัสโดยตรงกับ
้
ื
ิ
ผู้ป่วยหรือพ้นผนังและเคร่องมือท่อยู่ใกล้ผู้ป่วยท่อาจมีการปนเปื้อน และถอดอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย ก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
ี
ื
ื
ี
โดยต้องท�าความสะอาดมือหลังถอดอุปกรณ์ป้องกันร่างกายแต่ละชนิด
ี
ื
ื
ั
ื
�
2.1.4 การเคล่อนย้ายผู้ป่วย ให้เคล่อนย้ายผู้ป่วยเท่าท่จาเป็นเท่าน้น ขณะเคล่อนย้ายผู้ป่วยให้ระมัดระวัง
ื
ั
ื
ื
การแพร่กระจายเช้อไปสู่ผู้ป่วยอ่น โดยต้องม่นใจว่าบริเวณร่างกายของผู้ป่วยท่ติดเช้อหรือพบเช้อก่อโรคได้รับการปกปิดมิดชิด
ื
ี
2.1.5 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วย ระมัดระวังในการหยิบจับเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
่
ี
่
ู้
ื
ั
กบผป่วยตามหลัก standard precautions ให้เลอกใช้เครองมือแบบทใช้แล้วทงหรือใหแยกของใช้ของผป่วยแต่ละราย สาหรับ
�
ื
้
้
ิ
ู้
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ร่วมกับผู้ป่วยอื่นให้ท�าความสะอาด และท�าลายเชื้ออย่างถูกต้องก่อนที่จะน�าไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น
ิ
�
ิ
2.1.6 การทาความสะอาดส่งแวดล้อม ให้ทาความสะอาดอย่างน้อยวันละคร้ง โดยเฉพาะอย่างย่งบริเวณ
�
ั
ที่จับต้องบ่อยๆ เช่น ที่กั้นเตียง ลูกบิดประตู เป็นต้น
�
�
ี
บุคลากรทางการแพทย์ต้องให้คาแนะนาผู้ป่วยและญาติในการปฏิบัติตัวก่อนการเข้าเย่ยมผู้ป่วย และ
ให้ยุติการใช้มาตรการ contact precautions เมื่ออาการและอาการแสดงการติดเชื้อของผู้ป่วยหมดไปหรือตามข้อแนะน�า
ส�าหรับเชื้อนั้นๆ
90 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล