Page 97 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 97

Minutes required for a removal efficiency of :
                               ACH
                                                  90%               99%              99.9%
                                15                 9                 18                28
                                16                 9                 17                26
                                17                 8                 16                24
                                18                 8                 15                23
                                19                 7                 15                22
                                20                 7                 14                21
                                25                 6                 11                17
                                30                 5                 9                 14
                                40                 3                 7                 10
                                45                 3                 6                  9
                                50                 3                 6                  8


                                                                     �
                      นอกจากหลักการปฏิบัติดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีข้อปฏิบัติสาหรับจัดการส่งแวดล้อมเพ่อป้องกัน (protective
                                                                                ิ
                                                                                          ื
                                     ี
                           �
                                                   ื
             environment) สาหรับผู้ป่วยท่มีภูมิไวต่อการติดเช้อ (immunocompromised patients) เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็งของระบบเลือด
             ผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีรักษา ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น ผู้ป่วยเหล่านี้จะมีความไวต่อการติดเชื้อแตกต่างกันขึ้น
                                                                              ี
                                        ี
             กับความรุนแรงและระยะเวลาท่ภูมิคุ้มกันถูกกด โดยท่วไปผู้ป่วยจะมีความเส่ยงสูงต่อการติดเช้อท้งเช้อแบคทีเรีย
                                                                                            ื
                                                                                               ั
                                                           ั
                                                                                                  ื
                                 ั
                                            ี
                                      ื
                                                                                                        ี
               ื
                                                                              ี
             เช้อรา  พยาธิและไวรัส ท้งจากเช้อโรคท่มีอยู่ในร่างกายและนอกร่างกาย การศึกษาท่ผ่านมาพบว่าการแยกผู้ป่วยเหล่าน้ไว้ใน
             หองแยกที่มีประสิทธิภาพการกรองสูง (HEPA - filter) ไม่สามารถลดอัตราการติดเชื้อในผู้ป่วยลงได้ (Eckmanns, Rüden, &
               ้
                                                              ี
                                                ื
                                                                        ื
                                    ื
             Gastmeier, 2006) อันอาจเน่องจากการติดเช้อของผู้ป่วยเหล่าน้มักเกิดจากเช้อท่มีอยู่ในร่างกายของผู้ป่วยเอง (endogenous
                                                                          ี
                                                                                             ื
                                                              ี
                                                                         ื
                        ื
                                     �
             flora) และเม่อบุคลากรไม่ได้ทาความสะอาดมือและใช้อุปกรณ์ท่ไม่ปราศจากเช้อ อาจก่อให้เกิดการติดเช้อในผู้ป่วยได้ ในการ
             ดูแลผู้ป่วยเหล่าน้พยาบาลจึงควรปฏิบัต (Siegel, Rhinehart, Jackson, Chiarello, & the Healthcare Infection Control
                                            ิ
                           ี
             Practice Advisory Committee, 2007) ดังนี้
                      1.  การควบคุมสิ่งแวดล้อม ควรกรองอากาศเข้าห้องผู้ป่วยโดยใช้ central or point-of-use high efficiency
             particulate (HEPA) filters ซึ่งสามารถขจัด particle ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ≥ 0.3 ไมครอนได้ 99.97% ท�าให้ทิศทาง
                                                               ึ
             การไหลของอากาศผ่านเตียงของผู้ป่วย และไหลออกอีกด้านหน่งของห้อง อากาศในห้องมีความดันเป็นบวก เม่อเทียบกับ
                                                                                                    ื
             อากาศภายนอก โดยให้มีการหมุนเวียนอากาศอย่างน้อย 12 รอบต่อชั่วโมง
                      2.  ลดปริมาณฝุ่นด้วยการใช้พ้นผิวและวัสดุปูท่เรียบ ไม่เป็นร สามารถขัดถูได้ เม่อพบว่ามีฝุ่น ให้เช็ดด้วยผ้าเปียก/หมาด
                                            ื
                                                                  ู
                                                                                ื
                                                        ี
                      3.  หลีกเลี่ยงการใช้พรมที่ทางเดิน และในห้องผู้ป่วย
                      4.  ห้ามมีดอกไม้ทั้งสดและแห้งและต้นไม้กระถางในห้องผู้ป่วย
                      5.  จ�ากัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยออกไปนอกห้องเพื่อการตรวจวินิจฉัย และกิจกรรมอื่น ๆ น้อยที่สุด







                                                            คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล  93
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101