Page 93 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 93
ื
ื
�
ี
ี
และถ้าเป็นไปได้ควรมีการจัดสถานท่สาหรับผู้ท่มีการติดเช้อระบบทางเดินหายใจให้อยู่ห่างจากผู้อ่นมากกว่า 3 ฟุต นอกจากน ้ ี
ี
�
้
ิ
ิ
�
�
ี
ส่งท่สาคัญคือการล้างมือหลังสัมผัสฝอยละอองนามูก นาลาย เวลาไอ จาม และท้งกระดาษชาระลงในถังมูลฝอยท่มีฝาปิด
�
้
จึงควรมีการติดป้ายเตือนที่ทางเดินเข้าสถานพยาบาลและจุดที่ส�าคัญ เช่น ลิฟท์ โรงอาหาร ห้องตรวจผู้ป่วยนอก บริเวณพัก
คอย ห้องฉุกเฉินและหอผู้ป่วย พร้อมทั้งให้ค�าแนะน�าผู้ป่วยและบุคคลอื่น ๆ ที่มีอาการการติดเชื้อทางเดินหายใจให้ปิดปาก
จมูกในเวลาไอหรือจาม การใช้และท้งกระดาษเช็ดหน้าและการทาความสะอาดมือหลังสัมผัสกับนามูกและเสมหะ รวมถึงควร
�
�
้
ิ
จัดให้มีผ้าปิดปาก - จมูก ไว้บริการและถังขยะท่ไม่ต้องใช้มือสัมผัสเช่น ใช้เท้าเปิดฝา หรือถุงพลาสติก รองรับกระดาษ/
ี
ผ้าปิดปาก - จมูกที่ปนเปื้อน
ั
ู
ิ
ุ
้
ี
ู
ื
่
ี
1.4. การจดทให้ผ้ป่วยอย่ (patient placement) ให้พจารณาจากโอกาสของการแพร่กระจายเชอจลชพท ่ ี
ี
�
ื
ี
ติดต่อได้ในการตัดสินใจกาหนดเตียงท่จะให้ผู้ป่วยนอน โดยจัดวางผู้ป่วยท่มีความเส่ยงสูงต่อการแพร่กระจายเช้อสู่ผู้อ่นไว้
ื
ี
ในห้องแยกเดี่ยว (isolation room) หรือให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อชนิดเดียวกันอยู่ห้องเดียวกัน (cohorting)
1.5 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วย (patient-care equipment and instruments/devices) ที่อาจ
ี
ั
มีการปนเปื้อนเชอจุลชีพจากร่างกายของผู้ป่วย จึงให้ระมดระวังในการถอหรอจับต้องอุปกรณ์ท่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยท่มการ
ี
ื
ี
ื
้
ื
่
ั
ื
่
ั
ื
ู
�
้
ู
ิ
่
่
ื
ิ
ั
ั
ู
ื
้
ื
่
ุ
้
ื
ื
�
ปนเปื้อนเลอด สารนาหรอสารคดหลง เพอป้องกนการสัมผสถกผวหนง เยอบ เสอผ้าและการนาเชอไปส่ผ้ป่วยอนและสง
ั
แวดล้อม อุปกรณ์ท่จะนากลับมาใช้กับผู้ป่วยอีก จะต้องผ่านการล้างและทาลายเช้อหรือทาให้ปราศจากเช้อก่อน ส่วนอุปกรณ์
�
�
ื
ี
ื
�
ื
ิ
ิ
ั
�
ท่ใช้คร้งเดียวแล้วท้งจะต้องมีการจัดเก็บเพ่อนาไปท้งอย่างถูกต้อง สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย เช่น ถุงมือ เส้อคลุม ตามระดับ
ี
ื
ี
ื
ื
ี
ึ
ึ
ของการปนเปื้อนท่คาดว่าจะเกิดข้นเม่อจะจับต้องเคร่องมือและอุปกรณ์ซ่งมีความสกปรกท่เห็นได้ชัด หรืออาจจะสัมผัสกับ
เลือด สารน�้าหรือสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย วิธีลดปริมาณของเชื้อโรคบนอุปกรณ์ทางการแพทย์ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
ว่าต้องการลดเชื้อลงถึงระดับใดจึงจะปลอดภัยส�าหรับอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ในสถานพยาบาล การลดปริมาณของเชื้อ
บนพื้นผิวของสิ่งมีชีวิตและอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ กระท�าได้หลายวิธี ได้แก่
�
�
ั
ื
ี
1. การล้าง (cleaning) เป็นวิธีลดจานวนเช้อโรคได้ดีท่สุด ทาง่าย และประหยัดท้งเวลาและวัสด ุ
การล้าง ที่ถูกต้องจะก�าจัดเชื้อโรคออกได้เกือบหมด ดังนั้นการล้างจึงเป็นกรรมวิธีขั้นแรกในกระบวนการลดจ�านวนเชื้อ
�
ื
�
2. การทาลายเช้อ (disinfection) หมายถึง การทาลายเช้อทุกรูปแบบ ยกเว้น สปอร์ (spore) ของแบคทีเรีย
ื
3. การท�าให้ปราศจากเชื้อ (sterilization) หมายถึง การท�าลายเชื้อทั้งหมดรวมถึงสปอร์ของแบคทีเรีย
ื
ี
�
ั
ื
�
การปฏิบัติเพ่อทาลายเช้อ/ทาให้ปราศจากเช้อสาหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์มีหลายวิธ ดังน้น
�
ื
เพื่อให้สามารถท�าลายเชื้อ/ท�าให้ปราศจากเชื้อในอุปกรณ์แต่ละชนิดอย่างเหมาะสม ต้องจัดแบ่งกลุ่มอุปกรณ์ในหน่วยงานให้
ถูกต้องก่อน ซึ่งเครื่องมือทางการแพทย์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
- เครื่องมือกลุ่มวิกฤติ (critical items) หมายถึง อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้กับผู้ป่วยและมีการเจาะ
ทะลุทะลวงผ่านเนื้อเยื่อ หรือแทง/สอดใส่เข้าไปในร่างกายหรือหลอดเลือด เช่น เข็ม เครื่องมือผ่าตัด สายสวนอวัยวะต่างๆ
ได้แก่ สายสวนปัสสาวะ เป็นต้น อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ต้องได้รับการท�าให้ปราศจากเชื้อ (sterilization) เท่านั้น
ิ
ี
- เคร่องมือกลุ่มก่งวิกฤต (semi - critical items) หมายถึง อุปกรณ์และเคร่องมือท่ใช้กับผู้ป่วยท่สัมผัส
ื
ื
ึ
ี
เน้อเย่อหรือเย่อบุของร่างกาย หรือผิวหนังท่มีบาดแผลหรือมีรอยถลอก เช่น เคร่องช่วยหายใจ อุปกรณ์ทางด้านวิสัญญ อุปกรณ์
ื
ื
ื
ื
ี
ี
ต่างๆ เหล่านี้ควรท�าลายเชื้อโดยใช้น�้ายาท�าลายเชื้อระดับสูง (high level disinfection)
- เครื่องมือกลุ่มไม่วิกฤติ (non critical items) หมายถึง อุปกรณ์ละเครื่องมือที่ใช้กับผู้ป่วยที่สัมผัส
กับผิวหนังปกติไม่มีบาดแผลหรือรอยถลอก เช่น เครื่องวัดความดันโลหิต ชามรูปไต หม้อสวนอุจจาระ อุปกรณ์เหล่านี้ควร
ท�าความสะอาดหรือท�าลายเชื้อระดับต�่า (cleaning or low level disinfection)
1.6 การดูแลสิ่งแวดล้อม (care of the environment) โดยการท�าความสะอาดพื้นผิวสิ่งแวดล้อมที่น่าจะมี
การปนเปื้อนเชื้อจุลชีพ รวมทั้งพื้นผิวที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยประจ�าวันอย่างเหมาะสม เช่น เตียงไม้กั้นเตียง โต๊ะคร่อมเตียง และ
ิ
ิ
�
้
ื
ื
ิ
ี
�
�
รอบๆ ยูนิตผู้ป่วยใช้ผ้าชุบนายาทาลายเช้อท่มีฤทธ์ในการฆ่าเช้อจุลชีพในส่งแวดล้อมทาความสะอาดตามปกต แล้วเช็ดตาม
ด้วยผ้าแห้งทุกวัน ควรท�าความสะอาด ส่วนพื้นผิวที่ถูกสัมผัสบ่อย ๆ เช่น ลูกบิดประตู พื้นผิวห้องน�้า ให้ท�าความสะอาดบ่อย
ื
�
�
�
กว่าบริเวณอ่น สาหรับสถานท่ให้บริการผู้ป่วยเด็ก ให้ทาความสะอาดและทาลายเช้อในของเล่นเป็นระยะ และเม่อมีความสกปรก
ี
ื
ื
ี
�
ท่เห็นได้ชัด ควรเลือกของเล่นท่สามารถทาความสะอาดได้ง่าย ไม่ควรใช้ของเล่นท่มีขนหรือใส่นุ่น นอกจากน้ควรทาความสะอาด
ี
ี
ี
�
ื
และทาลายเช้อในเคร่องมืออิเล็กทรอนิกส์ท่ใช้กับผู้ป่วยบ่อย ๆ เช่น เคร่องวัดความดันโลหิตและเคร่องวัดค่าออกซิเจนในเลือด
ื
ื
ื
ี
�
(Oxygen saturation) รวมถึงการจัดการมูลฝอยที่ถูกต้อง โดยเฉพาะการแยกมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อ ควรคัดแยก
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 89