Page 91 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 91
1.2.1 การสวมถุงมือ (glove) ให้สวมถุงมือทุกครั้งเมื่อมือมีบาดแผล หรือเมื่อคาดว่ามือจะมีการสัมผัส
ี
ื
ั
กับเลือด ส่งคัดหล่ง หรือมีโอกาสปนเปื้อนเช้อจุลชีพ โดยให้เลือกขนาดถุงมือท่พอดีกับมือสวม มีความทนทานเหมาะสม
ิ
ี
�
กับงานท่ทา และถอดถุงมือออกทันทีหลังเสร็จกิจกรรม ไม่สวมถุงมือคู่เดิมในการดูแลผู้ป่วยมากกว่า 1 ราย ไม่ล้างถุงมือ
ี
ื
ื
ี
�
้
ื
ื
�
เพ่อนากลับมาใช้ซาเน่องจากจะทาให้เกิดการแพร่กระจายเช้อจุลชีพได้ และเปล่ยนถุงมือเม่อเปล่ยนกิจกรรมกับผู้ป่วยรายเดิม
�
ถ้ามือสัมผัสส่วนที่สกปรก เช่น ท�าแผลบริเวณแผลที่เป็นหนอง แล้วไปสัมผัสส่วนที่สะอาด เช่น ให้สารน�้าทางหลอดเลือดด�า
และท�าความสะอาดมือหลังถอดถุงมือทุกครั้ง เลือกใช้ถุงมือให้เหมาะสมกับกิจกรรม ดังนี้
ั
ื
- ถุงมือปราศจากเช้อ (sterile glove) เช่น surgical glove ขนาดส้นสาหรับหัตถการต่างๆ
�
Surgical glove ขนาดยาว ส�าหรับล้วงรกและการผ่าตัดที่มีเลือดออกมากและ special examination glove ส�าหรับการ
ตรวจที่ต้องการความปราศจากเชื้อ
- ถุงมือสะอาด (cleaned glove) เช่น disposable glove or general examination glove
ส�าหรับการตรวจทั่วไปที่ต้องการความสะอาดเท่านั้น
- ถุงมือยางหนา (heavy duty glove) ใช้สาหรับการทาความสะอาดท่วไป การซักล้าง
�
ั
�
การท�าความสะอาดห้องน�้าห้องส้วม เมื่อใช้เสร็จแล้วท�าความสะอาดถุงมือด้วยผงซักล้างแล้วผึ่งให้แห้งก่อนน�ากลับไปใช้ใหม่
1.2.2 การสวมเส้อคลุม (gown) ให้สวมเส้อคลุมท่สะอาดเพ่อป้องกันผิวหนังและเส้อผ้าเปื้อนระหว่าง
ื
ื
ื
ื
ี
�
ั
ี
้
�
การทาหัตถการและกิจกรรมกับผู้ป่วยท่มีแนวโน้มว่าอาจมีการปนเปื้อนเลือด สารนาหรือสารคัดหล่งจากร่างกายผู้ป่วยพุ่ง
กระเด็นเข้าสู่ร่างกายให้สวมเสื้อคลุม 1 ตัวต่อการดูแลผู้ป่วย 1 คน/1 ครั้ง ถอดเสื้อคลุมทันทีหลังการใช้งานอย่างระมัดระวัง
โดยจับม้วนให้เส้อด้านในอยู่ด้านนอก นาเส้อคลุมไปใส่ในถังบรรจุผ้าเปื้อนท่มีฝาปิดมิดชิดอย่างถูกต้อง ไม่ควรใส่เส้อคลุม
ี
ื
�
ื
ื
ตลอดเวลาท่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย เพราะจะเพ่มโอกาสการแพร่กระจายเช้อไปสู่ผู้ป่วยและส่งแวดล้อมได้ง่ายและมากข้น
ึ
ิ
ิ
ี
ื
หลังถอดเสื้อคลุมแล้วล้างมือให้สะอาด ไม่ใช้เสื้อคลุมซ�้า แม้ว่าจะสัมผัสกับผู้ป่วยรายเดิม
1.2.3 การสวมผ้าปิดปาก - จมูก (mask) จ�าแนกลักษณะการใช้งานได้ดังนี้
�
- ผ้าปิดปากและจมูกชนิดกรองอากาศ (surgical mask) ใช้สาหรับป้องกันละอองฝอยขนาดใหญ่
�
่
�
ี
ี
ี
ี
(droplet) และละอองท่ฟุ้งกระจายในอากาศ มักแนะนาให้ผู้ป่วยท่มีภูมิต้านทานตาหรือผู้ป่วยท่อยู่ในภาวะท่สามารถ
แพร่กระจายเชื้อสวมใส่ รวมทั้งบุคลกรที่มีภาวะติดเชื้อ เช่น เป็นหวัดแต่จ�าเป็นต้องให้การดูแลผู้ป่วย
ี
ี
ื
การดูแล: เปล่ยนใหม่ทันทีท่มีการปนเปื้อนหรือช้นแฉะ และใช้เฉพาะส่วนบุคคล เม่อเสร็จส้น
ื
ิ
การใช้แล้วทิ้งลงในถังมูลฝอยติดเชื้อและต้องล้างมือภายหลังถอดผ้าปิดปาก - จมูกทุกครั้ง
- ผ้าปิดปาก - จมูกชนิดกรองอนุภาค (respiratory protective mask) จ�าแนกออกเป็น
ื
ื
1) ชนิดกรองเช้อโรค สามารถกรองเช้อโรคท่ปะปนในละอองฝอยขนาดเล็กที่ฟุ้งกระจายอยู่ใน
ี
อากาศโดยมีประสิทธิภาพในการกรองเชื้อขนาด 3 ไมครอนได้ แนะน�าให้บุคลากรทางการแพทย์สวมใส่กรณีที่มีโอกาสเสี่ยง
ื
ี
ี
ต่อการได้รับเช้อท่ปะปนกับละอองเสมหะขนาดเล็กท่แพร่กระจายทางอากาศ (airborne transmission) แบ่งออกเป็น
ประเภทต่าง ๆ ทั้ง 9 ชนิดได้แก่ N 95, N 99, N 100, R 95, R 99 และ R 100
2) ชนิดกรองเช้อโรคและสารพิษ สามารถกรองเช้อโรคท่ปะปนในละอองฝอยขนาดเล็กท ี ่
ื
ี
ื
ื
ฟุ้งกระจายได้ รวมท้งสามารถป้องกันสารพิษท่ฟุ้งกระจายในอากาศได้ สามารถกรองเช้อโรคขนาดเล็ก 1 - 5 ไมครอนได้
ี
ั
ส่วนประกอบของผ้าปิดปากและจมูกชนิดนี้จะมีเยื่อกรองพิเศษ (HEPA filter) เช่น P 95, P 99, P 100
ื
่
ี
- ผ้าปิดปาก - จมก ชนดกรองเชอโรคและมลนกรองอากาศ สามารถกรองเชอโรคทปะปน
้
้
ี
ิ
ิ
้
ื
ู
ในละอองฝอยขนาดเล็กท่ฟุ้งกระจายได้และมีล้นกรองอากาศ (respiratory with exhalation valve) ล้นกรองอากาศน ี ้
ิ
ิ
ี
จะเปิดเมื่อหายใจออกเป็นการระบายลมและปิดเมื่อหายใจเข้า อากาศที่หายใจเข้าจะผ่านแผ่นกรองอากาศ เช่น N 95 with
exhalation valve
หมายเหตุ N คือผ้าปิดปาก - จมูกที่ไม่สามารถกรองฝอยละอองน�้ามันได้
R คือผ้าปิดปาก - จมูกที่สามารถกรองฝอยน�้ามันได้บางส่วน
P คือผ้าปิดปาก - จมูกที่สามารถกรองฝอยละอองน�้ามันได้ดี
N - 95, R - 95, และ P - 95 มีประสิทธิภาพในการกรอง 95%
N - 99, R - 99, และ P - 99 มีประสิทธิภาพในการกรอง 99%
N - 100, R - 100 และ P - 100 มีประสิทธิภาพในการกรอง 99.97%
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 87