Page 95 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 95
ื
2.2 การป้องกันการแพร่กระจายเช้อทางฝอยละออง (droplet precautions) ใช้เป็นหลักการปฏิบัติกับผู้
ี
ี
ี
ึ
ื
ป่วยท่ทราบหรือสงสัยว่าจะมีการติดเช้อท่แพร่กระจายได้ทางฝอยละอองอากาศขนาดมากกว่า 5 ไมครอน ซ่งเกิดจากผู้ท่เป็น
แหล่งโรค ไอ จามหรือพูด เช่น Diphteria, Pertussis, Mycoplasma pneumonia, Haemophillus influenzae type b
disease, Neisseria meningitidis, Pneumonic plague, Streptococcus pharyngitis, Pneumonia, Scarlet fever
และโรคติดเชื้อไวรัส Adenovirus , Influenza , Mumps, Parvovirus B, Rubella เป็นต้น โดยมีหลักปฏิบัติดังนี้
2.2.1 การจัดห้อง/เตียงให้ผู้ป่วย ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยกเดี่ยว และปิดประตูทุกครั้งหลังการเข้า
- ออกจากห้องผู้ป่วย ถ้าไม่มีห้องแยกควรจัดให้ผู้ป่วยที่มีอาการไอและเสมหะมากพักอยู่ในห้องอยู่ห้องแยกเดี่ยวก่อน จัดให้
ั
่
ู
ิ
ี
ู
ิ
้
ื
ั
่
ู้
ผ้ป่วยท่ตดเชอโรคชนดเดียวกนอยในห้องเดยวกน แต่ถ้าไม่มห้องแยกและจาเป็นต้องให้อย่รวมกับผป่วยอืน ๆ ควรจดใหเตยง
ี
้
ู
ั
ี
�
ี
ี
ี
ห่างกันมากกว่า 3 ฟุต มีอากาศถ่ายเทท่ด มีการควบคุมทิศทางการไหลของอากาศ สามารถจัดให้ผู้ป่วยโรคเดียวกันอยู่
ั
ี
่
ี
ู
ื
ิ
ู
ี
ึ
่
ู
ั
่
ื
ี
่
ในบรเวณเดยวกนได้ ให้ดงม่านปิดเพอลดโอกาสทจะสมผสใกล้ชด หลกเลยงการจดให้ผ้ป่วยอย่ห้องเดยวกบผ้ป่วยอนทม ี
ั
ี
ั
ี
ั
่
ิ
สภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการติดเชื้อได้ง่าย เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น
�
�
2.2.2 การทาความสะอาดมือ ต้องทาความสะอาดมืออย่างถูกต้องระหว่างการสัมผัสผู้ป่วยในแต่ละราย
ในห้องเดียวกัน
2.2.3 การสวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย บุคลากรทางการแพทย์ท่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วย
ี
ี
�
�
�
ต้องใส่ผ้าปิดปาก - จมูกชนิดกรองอากาศ (Surgical mask) ยกเว้นการทาหัตถการท่ทาให้เกิดการฟุ้งกระจายและจาเป็นต้อง
ให้การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด (Close contact) ให้ใส่ผ้าปิดปาก - จมูกชนิดกรองอนุภาค (N 95, N 100) เช่น การพ่นยา
การใส่ - ถอด ท่อช่วยหายใจ การดูดเสมหะ เป็นต้น ส่วนผู้ป่วยให้ใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปากจมูกเวลาไอ จาม และใส่ผ้าปิดปาก -
จมูกชนิดกรองอากาศตลอดเวลาที่มีบุคคลอื่นอยู่ภายในห้อง ยกเว้นเวลารับประทานอาหารและแปรงฟัน
�
ื
�
2.2.4 การเคล่อนย้ายผู้ป่วย ให้เคล่อนย้ายเม่อจาเป็นเท่าน้น ถ้าจาเป็นต้องเคล่อนย้ายผู้ป่วยออก
ื
ื
ั
ื
นอกห้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก - จมูกชนิดกรองอากาศตลอดเวลา และแจ้งให้หน่วยงานปลายทางรับทราบล่วงหน้าก่อน
เพื่อเตรียมรับผู้ป่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และให้ปฏิบัติตามหลักการสุขอนามัยการหายใจ/มารยาทการไอ
�
ื
�
ั
ื
ผู้เข้าเย่ยมจาเป็นต้องได้รับคาแนะนาจากบุคลากรทางการแพทย์ก่อนทุกคร้งเร่องการปฏิบัติตัวเม่อเข้า
ี
�
ี
ี
ี
�
�
ี
ื
เย่ยมผู้ป่วย หากไม่จาเป็นควรงดการเย่ยมในระยะท่ยังมีการแพร่กระจายเช้อ หรือจากัดการเย่ยม สามารถยุติการใช้มาตรการ
ื
�
ื
droplet precautions เม่ออาการและอาการแสดงการติดเช้อของผู้ป่วยหมดไป หลังจากจาหน่ายผู้ป่วย ให้เปิดหน้าต่าง
เพื่อระบายอากาศทิ้ง ผู้ที่ท�าความสะอาดต้องสวมเครื่องป้องกันร่างกาย คือ หน้ากากกรองอากาศ เสื้อกาวน์ ถุงมือและเช็ด
ท�าความสะอาดในแนวระนาบ ส�าหรับพื้นผิวทั่วไป ใช้น�้าผสมผงซักล้าง หากเป็นพื้นผิววัสดุอุปกรณ์ที่ใกล้ตัวผู้ป่วยให้เช็ดด้วย
70% alcohol
2.3 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (airborne precautions) เป็นมาตรการที่ใช้ปฏิบัติส�าหรับ
ผู้ป่วยท่รู้ หรือสงสัยว่าจะมีการติดเช้อโรคท่สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนทางอากาศ เช่น วัณโรค โรคหัด โรคสุกใส
ี
ี
ื
โรคงูสวัดแพร่กระจาย เป็นต้น โดยมีหลักปฏิบัติดังนี้
ี
2.3.1 การจัดห้องให้ผู้ป่วย ควรเป็นห้องแยกท่มีระบบการปรับความดันภายในห้องให้เป็นลบ (Negative
pressure room) มีการระบายอากาศ 6 - 12 รอบต่อชั่วโมง และมีการกรองอากาศที่จะออกจากห้อง ในกรณีที่มีห้องแยก
ั
้
ู
ี
่
ี
ี
ู
แบบธรรมดาให้แยกผ้ป่วยไว้ในหองแยก มอากาศถ่ายเททด มการกาหนดทิศทางการไหลของอากาศและปิดประตทุกครงหลง ั
ี
้
�
การเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย หลีกเลี่ยงการใช้พัดลมโคจร ควรมีแสงแดดส่องถึง เตรียมภาชนะใส่มูลฝอยพร้อมถุงมูลฝอย
รองรับสารคัดหล่งแล้วท้งลงในถังมูลฝอยติดเช้อท่มีฝาปิดมิดชิดม ในกรณีท่ไม่มีห้องแยก จัดให้ผู้ป่วยท่ติดเช้อชนิดเดียวกันอย ู่
ี
ื
ี
ี
ั
ิ
ี
ื
ในบริเวณเดียวกัน (Cohort Area) โดยจัดเตียงผู้ป่วยไว้บริเวณท่อากาศถ่ายเทได้ด เช่น ริมหน้าต่าง และควรจะอยู่ใต้ลม และ
ี
ี
ี
ี
�
ี
ี
�
จากัดบริเวณผู้ป่วยให้มากท่สุดเท่าท่ทาได้ กรณีท่มีการระบาดหรือมีผู้ป่วยจานวนมากท่ต้องใช้มาตรการดังกล่าว ให้ผู้ป่วยอย ู่
�
ื
ื
ี
ี
ี
ื
ี
ห้องเดียวกับผู้ป่วยอ่นท่มีการติดเช้อโรคชนิดเดียวกันไว้ในบริเวณท่ห่างจากผู้ป่วยอ่น ๆ โดยเฉพาะห่างจากผู้ท่มีความเส่ยงต่อ
การติดเชื้อ เช่น ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น ใช้วิธีการชั่วคราว เช่น พัดลมดูดอากาศ เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่มีความดัน
อากาศเป็นลบในบริเวณทรับผป่วย ระบายอากาศออกส่ภายนอกโดยตรง ห่างจากผ้คน และทางลมเข้า หรือนาอากาศท้งหมด
ู
่
ู้
ู
ั
�
ี
ผ่าน HEPA (high efficiency particulate) filters ก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก และขวนป้าย airborne precautions ไว้ที่
หน้าห้องแยกหรือที่เตียงผู้ป่วย ตลอดระยะเวลาที่ยังอยู่ในระยะแพร่กระจายของเชื้อโรค
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 91