Page 90 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 90
หลักการแยกผู้ป่วยและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในสถานพยาบาล
ี
ื
�
ผู้บริหารควรกาหนดนโยบายด้านการป้องกันการแพร่กระจายเช้อ ตลอดจนถึงการจัดให้มีการอบรมท่มีความเฉพาะ
ี
ื
ี
ิ
�
�
กับงาน และมีการให้ข้อมูลละฟื้นฟูวิชาการท่ทันสมัยเพ่มเติมเป็นระยะอย่างต่อเน่อง นอกจากน้ควรจัดให้มีเอกสารคาแนะนา
ั
่
�
สาหรบผู้ป่วยและผ้มาเยยมเกยวกบการทาความสะอาดมอ และสขอนามยทางเดนหายใจ/การปฏบัตเมอไอ (respiratory
�
ี
่
ู
ี
ั
ื
ิ
ิ
ิ
ื
่
ั
ุ
hygiene/cough etiquette practices) และการใช้วิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเช้อในผู้ป่วยท่ทราบช่องทางการ
ี
ื
แพร่กระจายเชื้อ (transmission - based precautions)
ื
ื
หลักการป้องกันการติดเช้อและควบคุมการแพร่กระจายเช้อในสถานพยาบาล (Isolation precautions) มีหลักการ
(Siegel, Rhinehart, Jackson, Chiarello, & the Healthcare Infection Control Practice Advisory Committee, 2007) ดังน ี ้
Isolation Precautions หมายถึง การปฏิบัติเพ่อป้องกันการติดเช้อในการดูแลผู้ป่วยและควบคุมการแพร่กระจาย
ื
ื
เชื้อจากผู้ป่วยสู่ผู้ป่วย บุคคลากร ญาติ และสิ่งแวดล้อมรอบสถานพยาบาล โดยการใช้มาตรการต่างๆ เช่น การคัดกรองและ
แยกผู้ป่วย การใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกายที่เหมาะสมกับช้องทางการแพร่กระจายเชื้อ ซึ่งประกอบด้วย 2 มาตรการ คือ
1. Standard precautions หมายถึง การป้องกันการติดเช้อแบบมาตรฐาน มาตรการน้ใช้กับผู้ป่วยทุกคน
ี
ื
ื
ี
ี
�
ื
ทุกรายท่มารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข โดยให้คานึงเบ้องต้นว่าผู้ป่วยทุกรายอาจจะมีเช้อโรค ท่สามารถติดต่อได้
ทางเลือดและสารคัดหล่งจากร่างกายทุกชนิด ไม่คานึงถึงการวินิจฉัยของโรคหรือภาวะติดเช้อของผู้ป่วย เป็นการปฏิบัติเบ้องต้น
ื
�
ื
ั
เพื่อป้องกันการติดต่อของเชื้อโรคจากผู้ป่วยมาสู่บุคลากรทางการแพทย์ทั้งที่ทราบและไม่ทราบแหล่งที่หรือช่องทางการแพร่
ี
กระจายเชอ การปฏบตนใช้กบเลอดและสารคดหลังทกชนิด ยกเว้นเหงอไม่ว่าสารคดหล่งนนจะมเลอดปนหรอไม่กตาม
้
ิ
ั
ั
ื
่
ื
ื
ั
ั
้
ั
ิ
ุ
็
ื
ั
ี
ื
่
้
รวมไปถึงการสัมผัสผิวหนังที่มีแผลและเยื่อบุต่าง ๆ โดยมีองค์ประกอบหลัก ๆ ดังต่อไปนี้
1.1 การท�าความสะอาดมือ (hand hygiene) ระหว่างการดูแลผู้ป่วย หลีกเลี่ยงการสัมผัสพื้นผิวของสิ่งของ
ื
ี
ท่อยู่ใกล้ผู้ป่วยเพ่อป้องกันมิให้มือเกิดการปนเปื้อนเช้อจุลชีพจากส่งแวดล้อม และป้องกันการแพร่กระจายเช้อจากมือท่ปนเปื้อน
ิ
ี
ื
ื
ื
ไปสู่ส่งแวดล้อม พบว่ามือของบุคลากรทางการแพทย์ท่ปนเปื้อนเช้อ VRE สามารถแพร่กระจายเช้อสู่อุปกรณ์ ของใช้และ
ิ
ี
ื
ิ
ื
ึ
ส่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยได้ ซ่งหากมีการสัมผัสบ่อยจะท�าให้เกิดการปนเปื้อนเช้อได้มากข้น จากการศึกษาพบว่าเช้อจุลชีพ
ึ
ื
สามารถมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้เป็นเวลานาน ซึ่งแตกต่างกันไปตามชนิดของเชื้อ เช่น
- เชื้อ Parainfluenza virus มีชีวิตอยู่บนพื้นผิวเรียบได้นาน 10 ชั่วโมง อยู่บนเสื้อผ้าได้นาน 6 ชั่วโมง
- เชื้อ Noroviruses มีชีวิตอยู่บนพรมได้นานสุดถึง 12 วัน
- เชื้อ Hepatitis B virus มีชีวิตอยู่บนอิเล็คโตรดส�าหรับวัดคลื่นหัวใจได้นาน 7 วัน
- เชื้อ Clostridium difficile มีชีวิตอยู่บนพื้นได้นานถึง 5 เดือน
- เชื้อ Methicillin resistant staphylococcus aureus (MRSA) มีชีวิตอยู่บนพื้นที่แห้งได้นานสุดถึง
9 สัปดาห์ และมีชีวิตอยู่บนพื้นลามิเนทพลาสติกได้นาน 2 วัน
- เช้อ Vancomycin resistant enterococcus (VRE) มีชีวิตอยู่บนเคาน์เตอร์ได้นานสุดประมาณ 2 เดือน
ื
- เชื้อ Acinetobactrer baumannii อยู่บนพื้นผิวที่แห้งได้นานถึง 4 เดือน
ุ
การทาความสะอาดมอจงเป็นวิธท่มความสาคญทสดในการป้องกนการแพร่กระจายเชอโรคในสถาน
ั
�
ื
้
่
ี
ี
ื
�
ึ
ั
ี
ี
พยาบาลและลดการติดเชื้อในสถานพยาบาล (World Health Organization, 2009) เนื่องจากการแพร่กระจายเชื้อจ�านวน
ไม่น้อยเกิดจากมือของบุคลากรท่มีเช้อโรคปนเปื้อนอยู่ โดยกาหนดให้ทาความสะอาดมือเม่อมือสกปรกอย่างเห็นได้ชัดด้วย
ื
�
ี
ื
�
ู
�
ั
�
สบ่กบนาหรือด้วยนายาฆ่าเช้อกับน้า แต่ถ้ามอไม่เปื้อนอย่างเหนได้ชด สามารถท�าความสะอาดมอได้ด้วยการลบมือด้วย
้
�
ื
้
ื
็
ื
ั
ู
แอลกอฮอล์ ยกเว้นกรณีที่มือมีโอกาสสัมผัสกับสปอร์ เช่น เชื้อ C. difficile หรือ Bacillus anthracis ให้ล้างมือด้วยน�้ากับ
�
สบ่หรือสบู่ยาฆ่าเช้อ เนองจากแอลกอฮอล์ คลอเฮกซิดีน ไอโอดอฟอร์และนายาฆ่าเชอชนดอ่นๆ ไม่สามารถทาลายสปอร์ของ
ู
้
ิ
ื
�
้
ื
่
ื
ื
�
เช้อเหล่าน้ได้ โดยการทาความสะอาดมือเมื่อ 1) ก่อนสัมผัสผู้ป่วย 2) ก่อนทากิจกรรมสะอาดหรือปราศจากเช้อ 3) หลังสัมผัส
ี
ื
�
ื
กับสิ่งคัดหลั่งหรือสิ่งสกปรก 4) หลังสัมผัสผู้ป่วย และ 5) หลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย นอกจากนี้ควรท�าความสะอาด
มือก่อนและหลังการถอดถุงมือ
1.2 การใส่สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย (personal protective equipment) ควรใส่อุปกรณ์ป้องกัน
เมื่อปฏิบัติกิจกรรมกับผู้ป่วยที่บ่งชี้ว่าอาจมีการสัมผัสกับเลือด สิ่งคัดหลั่ง หรือสารน�้าจากร่างกายของผู้ป่วย โดยระมัดระวัง
การปนเปื้อนเสื้อผ้าและผิวหนังระหว่างการถอดอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย โดยปฏิบัติดังนี้
86 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล