Page 58 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 58
�
สาหรับห้องชันสูตรโรค นอกจากจะต้องควบคุมสภาวะอากาศให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ ตามข้อ
ก�าหนดแล้ว ยังต้องออกแบบระบบระบายอากาศให้สอดคล้องกับชนิดและลักษณะการใช้งานของเตียงชันสูตรด้วย
ส�าหรับห้องชันสูตรโรค จะต้องควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เบื้องต้นดังนี้
1. แรงดันอากาศภายในห้อง < - 2.5 Pa.
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 12 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH
4. อุณหภูมิ 21 - 24 C
o
5. ความชื้นสัมพัทธ์ ไม่ก�าหนด
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสู่ห้อง MERV 14
6.2 อากาศระบายทิ้งออกจากห้อง MERV 17 (99.97% DOP Test*)
7. ต�าแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง ฝ้าเพดาน
8. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง ไม่ก�าหนด
�
�
มาตรฐานระบบปรับอากาศสาหรับห้องชันสูตรน จากข้อกาหนดในมาตรฐานจะเห็นได้ว่ามาตรฐานไม่กาหนด
�
ี
้
ให้ต้องควบคุมความชื้นสัมพัทธ์ภายในห้องแต่ประการใด แต่เนื่องจากประเทศไทยอยู่ภูมิภาคอากาศร้อนชื้น หากไม่
ื
้
�
�
ควบคุมความช้นสัมพัทธ์ภายในห้องแต่ควบคุมแรงดันภายในห้องให้น้อยกว่าภายนอก จะทาให้เกิดปัญหามีหยดนา
จับพื้นผิวต่างๆ ภายในห้องโดยเฉพาะหัวจ่ายลมเย็นได้ เนื่องจากอากาศที่ไหลเข้าสู่ภายในห้องจะเป็นอากาศร้อนชื้น
�
ื
ื
จึงควรควบคุมระดับความช้นสัมพัทธ์ภายในห้องให้ไม่เกิน 60% RH เพ่อเป็นการป้องกันปัญหานาหยดและเกิด
้
เชื้อราตามมาจากการใช้งานระบบปรับอากาศและระบบ Negative Pressure
นอกจากนี้ เตียงชันสูตรที่ใช้งานโดยทั่วไปจะมี 2 แบบ คือแบบตั้งกลางห้อง และแบบตั้งติดผนังห้อง ซึ่งทั้ง
�
ี
�
2 แบบ จะมีตาแหน่งของการระบายอากาศท่เตียงชันสูตรแตกต่างกัน การเตรียมระบบท่อระบายอากาศจึงต้องคานึง
ื
ี
ถึงประเภท ของเตียงชันสูตรด้วย เน่องจากท่อระบายอากาศต้องการพ้นท่และตาแหน่งติดต้งเฉพาะตัว หากเตรียมไว้
ื
ั
�
ไม่เหมาะสมกับชนิดของเตียงชันสูตร จะท�าให้แก้ไขภายหลังได้ค่อนข้างยาก
54 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล