Page 59 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 59
บทที 9 ห้องชันสูตร
่
สำหรับห้องชันสูตรโรค นอกจากจะต้องควบคุมสภาวะอากาศให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ตาม
้
ข้อกำหนดแล้ว ยังต้องออกแบบระบบระบายอากาศใหสอดคล้องกับชนดและลักษณะการใช้งานของเตียงชันสูตรด้วย
ิ
้
้
สำหรับห้องชันสูตรโรค จะต้องควบคุมตัวแปรต่างๆ เบืองต้นดังนี
1. แรงดันอากาศภายในห้อง
< - 2.5 Pa.
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ
> 12 ACH
> 2 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก
o
21 – 24 C
4. อุณหภูมิ
5. ความชืนสัมพัทธ์
้
ไม่กำหนด
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสูห้อง
MERV 14
่
้
MERV 17 (99.97% DOP Test*)
6.2 อากาศระบายทิงออกจากห้อง
ฝ้าเพดาน
7. ตำแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง
8. ตำแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง
ไม่กำหนด
มาตรฐานระบบปรับอากาศสำหรับห้องชันสูตรนี้ จากข้อกำหนดในมาตรฐานจะเห็นได้ว่ามาตรฐานไม่
่
กำหนดให้ต้องควบคุมความชืนสัมพัทธ์ภายในห้องแต่ประการใด แต่เนืองจากประเทศไทยอยูภูมิภาคอากาศร้อน
่
้
้
ชื้น หากไม่ควบคุมความชืนสัมพัทธ์ภายในห้องแต่ควบคุมแรงดันภายในห้องให้น้อยกว่าภายนอก จะทำให้เกิด
้
่
ปัญหามีหยดน้ำจับพืนผิวต่างๆภายในห้องโดยเฉพาะหัวจ่ายลมเย็นได้ เนืองจากอากาศทีไหลเข้าสู่ภายในห้องจะ
่
้
เป็นอากาศร้อนชืน จึงควรควบคุมระดับความชืนสัมพัทธ์ภายในห้องให้ไม่เกิน 60 %RH เพื่อเป็นการป้องกันปัญหา
้
้
น้ำหยดและเกิดเชือราตามมาจากการใช้งานระบบปรับอากาศและระบบ Negative Pressure
นอกจากนี เตียงชันสูตรทีใช้งานโดยทัวไปจะมี 2 แบบ คือแบบตังกลางห้อง และแบบตังติดผนังห้อง ซึ่ง
่
้
้
้
่
ทั้ง 2 แบบ จะมีตำแหน่งของการระบายอากาศทีเตียงชันสูตรแตกต่างกัน การเตรียมระบบท่อระบายอากาศจึงต้อง
่
้
คำนึงถึงประเภทของเตียงชันสูตรด้วย เนืองจากท่อระบายอากาศต้องการพืนที่และตำแหน่งติดตังเฉพาะตัว หาก
่
้
เตรียมไว้ไม่เหมาะสมกับชนิดของเตียงชันสูตร จะทำให้แก้ไขภายหลังได้ค่อนข้างยาก
ไดอะแกรมแสดงตัวอย่างระบบปรับอากาศป้องกันการติดเชือสำหรับห้องส่องกล้องทางเดินหายใจ
้
ไดอะแกรมแสดงตัวอย่างระบบปรับอากาศป้องกันการติดเชื้อส�าหรับห้องส่องกล้องทางเดินหายใจ
รูปแสดงตัวอย่างเตียงชันสูตรชนิดตั้งกลางห้อง
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 55