Page 64 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 64
ั
ี
ื
พ้นท่ห้องตรวจผู้ป่วยนอกโดยท่วไปมักจะมีความหนาแน่นของผู้มารับบริการค่อนข้างมาก นอกจากจะต้อง
ื
�
ื
�
คานึงถึงการป้องกันการแพร่กระจายเช้อทางอากาศแล้ว ยังต้องคานึงถึงการถ่ายเทอากาศเพ่อลดปริมาณการสะสม
ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในพื้นที่ และการควบคุมอุณหภูมิเพื่อความสบายของผู้มารับบริการด้วย
แต่เน่องจากมาตรฐานการออกแบบติดต้งระบบปรับอากาศและระบายอากาศโดยท่วไปของห้องตรวจผู้ป่วย
ื
ั
ั
ื
นอก จะมิได้ยึดถือผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศเป็นสาคัญ ดังน้น กระบวนการคัดกรองผู้ป่วยเพ่อแยกประเภทผู้ป่วยจึง
ั
�
ื
ิ
ี
ื
ื
�
ความสาคัญเป็นอย่างย่ง และสถานพยาบาลต่าง ๆ อาจพิจารณาพ้นท่น่งรอตรวจ และห้องตรวจของผู้ป่วยติดเช้อทาง
ั
อากาศจากพื้นที่อื่น ๆ
ส�าหรับพื้นที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอกโดยทั่วไป จะต้องควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เบื้องต้นดังนี้
1. แรงดันอากาศบริเวณผู้ป่วยนั่งรอ ไม่ก�าหนด
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 6 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH
o
4. อุณหภูมิ 21 - 24 C
5. ความชื้นสัมพัทธ์ < 60% RH
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสู่ห้อง MERV 7
6.2 อากาศระบายทิ้งออกจากห้อง ไม่ก�าหนด
7. ต�าแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง ไม่ก�าหนด
8. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง ไม่ก�าหนด
60 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล