Page 68 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 68
ส�าหรับพื้นที่หออภิบาลผู้ป่วยหนัก จะต้องควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เบื้องต้นดังนี้
1. แรงดันอากาศบริเวณผู้ป่วยนั่งรอ > + 2.5 Pa.
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 6 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH
4. อุณหภูมิ 21 - 24 C
o
5. ความชื้นสัมพัทธ์ < 60% RH
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสู่ห้อง 90% Efficiency
6.2 อากาศระบายทิ้งออกจากห้อง ไม่ก�าหนด
7. ต�าแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง ฝ้าเพดาน
8. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง ไม่ก�าหนด
�
ี
ั
ื
ี
คลินิกวัณโรคสามารถใช้ระบบระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติหากพ้นท่ต้งของคลินิกอยู่ในตาแหน่งท่เอ้อ
ื
ต่อทิศทางการไหลของอากาศ แต่หากไม่สามารถระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติได้ การติดตั้งระบบปรับอากาศและ
ั
ื
ระบายอากาศเพ่อควบคมทิศทางการไหลของอากาศภายในพนท่คลินคจะมีประสิทธิภาพในการป้องกนการแพร่กระจาย
ุ
ี
ิ
้
ื
ุ
ึ
ิ
ี
ื
เชอสูงกว่า โดยการคานวณออกแบบควรคานงถึงการปฏบัติงานของบคลากรทางการแพทย์ในพนท่โดยรวมทงหมด
้
ั
ื
�
้
้
�
เพื่อให้ทิศทางการไหลของอากาศ และ การควบคุมแรงดันภายในพื้นที่เหมาะสมสอดคล้องกับการปฏิบัติงาน
ระบบปรับอากาศสาหรับคลินิควัณโรคสามารถติดต้งได้ท้งระบบหมุนเวียนอากาศหรือระบบเติมอากาศ
�
ั
ั
บริสุทธิ์จากภายนอก 100% โดยควรค�านวณเปรียบเทียบระหว่างอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าในการใช้งานระบบและ
งบประมาณในการติดต้งระบบปรับอากาศ เน่องจากระบบปรับอากาศแบบหมุนเวียนอากาศจะต้องติดต้ง HEPA
ั
ื
ั
ิ
Filter ในระบบทาให้มีงบประมาณในการติดต้งสูงแต่อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าจะตากว่าระบบเติมอากาศบริสุทธ์จาก
่
�
ั
�
ภายนอก 100% ที่มีอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงกว่าแต่มีงบประมาณติดตั้งระบบต�่ากว่า
64 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล