Page 69 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 69
บทที 12 คลินิกวัณโรค
่
่
้
สำหรับพืนทีหออภิบาลผูป่วยหนัก จะต้องควบคุมตัวแปรต่างๆ เบืองต้นดังนี
้
้
้
1. แรงดันอากาศบริเวณผู้ป่วยนังรอ
> + 2.5 Pa.
่
> 6 ACH
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก
> 2 ACH
o
4. อุณหภูมิ
21 – 24 C
้
< 60%RH
5. ความชืนสัมพัทธ์
6. แผงกรองอากาศ
90% Efficiency
่
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสูห้อง
6.2 อากาศระบายทิงออกจากห้อง
ไม่กำหนด
้
ฝ้าเพดาน
7. ตำแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง
8. ตำแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง
ไม่กำหนด
คลินิกวัณโรคสามารถใช้ระบบระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติหากพื้นที่ตั้งของคลินิกอยู่ในตำแหน่งที่เอื้อต่อทิศ
ทางการไหลของอากาศ แต่หากไม่สามารถระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติได้ การติดตังระบบปรับอากาศและ
้
ระบายอากาศเพื่อควบคุมทิศทางการไหลของอากาศภายในพื้นที่คลินิคจะมีประสิทธิภาพในการป้องกันการ
้
้
แพร่กระจายเชือสูงกว่า โดยการคำนวณออกแบบควรคำนึงถึงการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์ในพืนที ่
โดยรวมทังหมด เพื่อให้ทิศทางการไหลของอากาศ และการควบคุมแรงดันภายในพืนทีเหมาะสมสอดคล้องกับการ
้
้
่
ปฏิบัติงาน
้
ระบบปรับอากาศสำหรับคลินิควัณโรคสามารถติดตังได้ทังระบบหมุนเวียนอากาศหรือระบบเติมอากาศ
้
บริสุทธิ์จากภายนอก 100% โดยควรคำนวณเปรียบเทียบระหว่างอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าในการใช้งานระบบ
้
และงบประมาณในการติดตังระบบปรับอากาศ เนืองจากระบบปรับอากาศแบบหมุนเวียนอากาศจะต้องติดตัง
่
้
้
HEPA Filter ในระบบทำให้มีงบประมาณในการติดตังสูงแต่อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าจะต่ำกว่าระบบเติมอากาศ
์
่
้
บริสุทธิจากภายนอก 100 % ทีมีอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงกว่าแต่มีงบประมาณติดตังระบบต่ำกว่า
รูปแสดงไดอะแกรมระบบปรับอากาศป้องกันการติดเชือสำหรับคลินิควัณโรค
้
รูปแสดงไดอะแกรมระบบปรับอากาศป้องกันการติดเชื้อส�าหรับคลินิควัณโรค
คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล 65