Page 62 - คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศ By FlipMag.net
P. 62
ื
ั
ั
ห้องฉายรังสีโดยท่วไปในประเทศไทยปัจจุบัน นิยมติดต้งเคร่องปรับอากาศแบบแขวนใต้ฝ้าเพดาน หรือแบบ
ติดผนัง ซึ่งไม่สามารถติดตั้งแผงกรองอากาศชั้นต้นที่มีประสิทธิภาพดังแสดงรายละเอียดด้านล่างได้
ส�าหรับห้องฉายรังสี จะต้องควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เบื้องต้นดังนี้
1. แรงดันอากาศบริเวณผู้ป่วยนั่งรอ ไม่ก�าหนด
2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 6 ACH
3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH
4. อุณหภูมิ 22 - 26 C
o
5. ความชื้นสัมพัทธ์ ไม่ก�าหนด
6. แผงกรองอากาศ
6.1 อากาศด้านจ่ายเข้าสู่ห้อง MERV 7
6.2 อากาศระบายทิ้งออกจากห้อง ไม่ก�าหนด
7. ต�าแหน่งหน้ากากจ่ายอากาศเข้าห้อง ไม่ก�าหนด
8. ต�าแหน่งหน้ากากระบายอากาศจากห้อง ไม่ก�าหนด
หากต้องการติดตั้งแผงกรองอากาศประสิทธิภาพตามมาตรฐานก�าหนด จะต้องใช้งบประมาณในการติดตั้ง
ึ
ี
ั
�
สูงข้น และจะส่งผลกระทบต่อห้องฉายรังสีท้งหมดในประเทศ สถานพยาบาลทุกแห่งท่มีความจาเป็นต้องให้บริการ
ผู้ป่วยติดเชื้อทางอากาศจึงควรแยกห้องฉายรังสีส�าหรับผู้ป่วยอื่นกับผู้ป่วยติดเชื้อทางอากาศให้ได้ผ่านระบบคัดกรอง
ั
ี
ท่มีประสิทธิภาพ และติดต้งระบบระบายอากาศเฉพาะห้องฉายรังสีท่ใช้รองรับผู้ป่วยติดเช้อทางอากาศ รวมถึงห้อง
ี
ื
เปลี่ยนเสื้อผ้าผู้ป่วยด้วยเช่นเดียวกัน
่
้
ิ
้
่
้
็
่
ื
�
ิ
้
้
อากาศทระบายทงจากหองฉายรงสทรองรบผปวยตดเชอทางอากาศ อาจไมจาเปนตองผานการกรองอากาศ
ี
่
ั
ั
ู
ี
ี
่
ด้วยแผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (HEPA Filter) เพ่อประหยัดงบประมาณก่อสร้าง แต่ต้องนาไปท้งให้ระยะท่ห่าง
�
ื
ี
ิ
จากพื้นที่ใช้งานหรือพื้นที่สาธารณะโดยทั่วไปอย่างน้อย 8 เมตร
รูปแสดงตัวอย่างห้องฉายรังสีที่ติดตั้งหน้ากากระบายอากาศต�าแหน่งที่ผู้ป่วยยืน
58 คู่มือการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารสถานพยาบาล